วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่6



วันที่17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
เวลาเรียน 8:30-12:30น.


เนื้อหาที่เรียน 

 → โดยอาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 3-4 คน และแจกไม้สั้นและยาว ให้ทำเป็นรูปเรขาคณิต และให้ดินนำมันเพื่อนำมาเชื่อมไม้  



 → กิจกรรมต่อมา อาจารย์เเจกไม้ยาวเพิ่มคนล่ะหนึ่งไม้เเละให้จับกลุ่มเพิ่มเป็นสี่คนสร้างเรขาคณิตแบบสามมิติ ซึ่งกติกาเดิมใช้ดินน้ำมันในการเชื่อมเป็นมุมเเต่ทำเป็นสามมิติเเตกต่างจากแบบเดิม 
และร่างแบบใส่กระดาษ



เพลง:หนึ่งปีมีสิบสองเดือน

หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน

อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่นฃ

หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็บวัน

หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน

อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ 


 คำศัพท์ 

1. Year          ปี
2.Month        เดือน
3.Day            วัน
4.Triangle      รูปสามเหลี่ยม
5.Geometry   รูปเรขาคณิต    

ประเมิน 
ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนใความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน : ร่วมมือและสามัคคี
ประเมินอาจารย์ : ตั้งใจถ่ายทอดความรู้ 








วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่5



วันที่3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563
เวลาเรียน 8:30-12:30น.

สัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์ที่ดิฉันต้องนำเสนอบทความ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


จากนั้นอาจารย์ได้แจกกระดาษ a4 คนละ1แผ่น โดยให้แบ่งเป็น4ช่อง
โดยอาจารย์ได้สมมติว่าถ้าเป็นกระดาษแข็งหัก งอ ไม่ได้ นักศึกษาจะทำอย่างไรให้
มันแบ่งออกเป็น4แผ่นและเก็บเข้ากล่อง4*4ได้ 

และอาจารย์ได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 3-4 คนให้แต่งเพลงและนำเสนอให้อาจารย์ดู 
โดยอาจารย์ร้องเพลงของอาจารย์ที่แต่งเอง เพื่อนให้นศ. เป็นแนวทาง..   ❤     


ชื่อเพลงนับนิ้ว

นี่คือนิ้วมือของฉัน                 มือฉันนั้นมีสิบนิ้ว

มือซ้ายฉันมีห้านิ้ว             มือขวาก็มีห้านิ้ว

               นับหนึ่งสองสามสี่ห้า               นับต่อมาหกเจ็ดแปดเก้าสิบ
   
 นับนิ้วนับจงอย่ารีบ            นับหนึ่งถึงสิบจำให้ขึ้นใจ

เพลงกบกระโดด (เพลงที่แต่งเอง)


กบ 1 ตัวกระโดนไปมา กระโดดไปข้างหน้านับ 1 2 3 กบ 1 ตัวกระโดนไปมา กระโดดไปข้างหลังนับ 4 5 6 กบ 1 ตัวกระโดนไปมา กระโดดไปข้างซ้ายนับ 6 7 กบ 1 ตัวกระโดนไปมา กระโดดไปข้างขวานับ 8 9  
กบ 1 ตัวกระโดนไปมา กระโดดอยู่กับที่นับ 10 10 10                                  



คำคล้องจอง 1 2 3

หนึ่ง สอง สาม เป็นยามปลอด สี่ ห้า หก ลอดรั้วออกไป
เจ็ด แปด เก้า แดดแจ่มใส สิบ สิบเอ็ด ไวไววิ่งไล่กัน
สิบสอง สิบสาม รีบย่องกลับ สิบสี่ สิบห้า หลับแล้วฝัน
สิบหก สิบเจ็ด ตกเตียงพลัน สิบแปด สิบเก้า ยี่สิบ นั้นฉันหัวโน


คำศัพท์

         1. Number          จำนวน
         2. Fingers            นิ้วมือ
         3. Music               เพลง
         4. Left had           มือซ้าย
         5. Right hand       มือขวา


การประเมิน

                 ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียน เเละร้องเพลงตามจังหวะ
                 ประเมินเพื่อน : เพื่อนช่วยกันร้องเพลงให้เข้าจังหวะ มีความวุ่นวายเล็กน้อย
                 ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ละเอียด เเละสอนร้องเพลง





บันทึกครั้งที่4 



บันทึกการเรียนครั้งที่4
วันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2563
เวลาเรียน 08:30-12:30น.

เนื้อหาที่เรียน

 การสอนเด็กปฐมวัยควรสอนเด็กโดยการเริ่มจากสิ่งของที่เป็นของจริงก่อน แล้วค่อยเป็นรูปภาพ 
หรือรหัสภาพต่างๆ โดยการจัดกิจกรรมที่ออกแบบวิธีการให้สอดคล้องกับการเล่น
ของจริง - ภาพ - รหัส 

มีเทคนิคในการจัดประสบการณ์ดังนี้
  • เพลง    
  • นิทาน
  • คำคล้องจ้อง
  • ปริศนาคำทาย
  • บทบาทสมมุติ
  • แผ่นภูมิภาพ
  • การประกอบอาหาร
ซึ่งเด็กนั้นจะได้เรียนรู้ผ่านการลงมือทำและจะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยตรง..

 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้มี6สาระ ได้แก่..

จำนวนและการดำเนินการ  
- บอกลำดับที่สิ่งของต่างๆ จะต้องกำหนดให้เด็กก่อน แล้วจึงจัดลำดับ 
- การรวมตัวเป็นการนับจำนวนต่างๆเป็นสองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น

การวัด 
- การวัดความยาว สูง ของสิ่งต่างๆอาจจะใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน เช่นการใช้นิ้วมือ มือ ฝ่ามือ ศอก เชือก 
- การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจจะใช้เครื่องมือวัดชั่งที่ได้มารตฐานเช่น มือ การทำคาน หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นการเปรียบเทียบ

เรขาคณิต
- ข้างบน ล่าง ใน นอก ระหว่าง ซ้าย ขวา ใกล้ ไกล เป็นการบอกตำแหน่งทิศทาง
- การจำแนกทรง วงกลม สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม  กรวย จะใช้วิธีพิจารณารูปร่าง

พีชคณิต
- เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ

การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
- การเก็บรวบรวมข้อมูจอาจจะใช้วิธีสังเกตหรือสอบถาม นำเสนอเป็นรูปภาพหรือกราฟ

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
- มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตสาสตร์ และการนำเสนอ การโยงความรู้ต่างๆ เช่น จะเริ่มใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์   8 + 5 = 3  ก่อนที่เด็กจะใช้ขั้นจะเป็นขั้นปลายจนกว่าเด็กจะผ่านขั้นอนุรักษ์ เด็กจะต้องมีเหตุหรือรู้จักคิดเเบมีเหตุผล

คำศัพท์ 

Division         การเเบ่ง
Difference      ผลต่าง
Geometry       เลขาคณิต 
Series              อนุกรม
Order              ลำดับ

การประเมิน
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆให้ความร่วมมือในชั้นเรียน
ประเมินอาจารย์ : สื่อสารและอธิบายให้ความรู้อย่างชัดเจน





บันทึกครั้งที่3 


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3
วันจันทร์ที่20มกราคม 2563
เวลา 08:30 - 12:00 น.


วิชาคณิตศาสตร์เป็นความรู้ที่อยู่รอบตัวของเรา เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ การหายใจ ชีพจร 

การทำงานของสมอง 
เกิดจากการรับข้อมูล ที่ลงมือกระทำต่อตัววัตถุ ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5
ส่งไปยังสมอง เพื่อรับข้อมูล ที่สอดคล้องกับความรู้เดิมและปรับโครงสร้างเป็นความรู้ใหม่ 
และสะท้อนออกมา

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูนเนอร์

  • บรูนเนอร์ ( Bruner ) เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจและศึกษาเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่องจากเพียเจต์ บรูนเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตัวเอง (discovery learning)
แนวทางการจัดการเรียนการสอน
  • มีลักษณะสำคัญ4ประการคือ 
  1. ผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจภายใน อยากรู้อยากเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว 
  2. จัดโครงสร้างให้เหมาะสมกับผู้เรียน
  3. จัดลำดับความยาก - ง่าย ของบทเรียนโดนคำนึงถึงพัฒนาการของผู้เรียน
  4. การเสริมแรงของผู้เรียน
 คำศัพท์
  1. Matching การจับคู่
  2. Number ตัวเลข
  3. Overlap การทับซับ
  4. Counting การนับ
  5. Comparing การเปรียบเทียบ
การประเมิน
ประเมินตัวเอง : ในชั่วโมงนี้ไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากไม่สบาย
ประเมินเพื่อน : ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินอาจารย์ : ให้ความรู้และยกตัวอย่างได้ดี